7

คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงานgap.doa.go.th/web_manual/doc/PM/PM8.pdf · 4.12 รายชื่อเกษตรกรที่ขอรับการตรวจประเมินจากฐานข้อมูล

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงานgap.doa.go.th/web_manual/doc/PM/PM8.pdf · 4.12 รายชื่อเกษตรกรที่ขอรับการตรวจประเมินจากฐานข้อมูล
Page 2: คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงานgap.doa.go.th/web_manual/doc/PM/PM8.pdf · 4.12 รายชื่อเกษตรกรที่ขอรับการตรวจประเมินจากฐานข้อมูล

คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงาน รหัส PM-8

หน้า 2/7 แก้ไขครั้งท่ี 2 ประกาศใช้วันท่ี 31 ม.ค. 62

การตรวจประเมินเพื่อการรับรอง แหล่งผลติ GAP พืช

1. วัตถุประสงค ์เพ่ือก าหนดขั้นตอน วิธีการ รวมทั้งผู้รับผิดชอบในการตรวจประเมินเพ่ือการรับรองแหล่งผลิต GAP พืช

2. ขอบข่าย คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงานฉบับนี้ครอบคลุมการเตรียมความพร้อมก่อนการตรวจประเมิน การตรวจประเมิน

เพ่ือการรับรอง การรายงานข้อบกพร่อง การรายงานผลการตรวจประเมิน การทวนสอบแนวทางการแก้ไข และการติดตามผลการแก้ไข’ตามมาตรฐานระบบการจัดการคุณภาพการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีส าหรับพืช (GAP พืช) ตามขอบข่ายที่กรมวิชาการเกษตรก าหนด

3. ค านิยาม 3.1 คณะกรรมการรับรอง หมายถึง คณะกรรมการรับรองมาตรฐานการผลิตพืช ที่ได้รับการแต่งตั้งจาก

ประธานคณะอนุกรรมการบริหาร เพ่ือท าหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย 3.2 ทบทวนทางเทคนิค หมายถึง ผู้ตรวจประเมินอ่ืนที่ไม่ได้มีส่วนร่วมในการตรวจประเมินเพ่ือการรับรอง

และได้รับการแต่งตั้งให้ท าหน้าที่ทบทวนรายละเอียดของผลการตรวจประเมิน 3.3 คณะผู้ตรวจประเมิน (Audit Team) หมายถึง กลุ่มบุคคลที่ท าหน้าที่ตรวจประเมินซึ่งประกอบด้วย

หัวหน้าคณะผู้ตรวจประเมิน ผู้ตรวจประเมิน ผู้ตรวจประเมินฝึกหัด (ถ้ามี) และผู้เชี่ยวชาญ (ถ้ามี) หรือบุคคลเดียวที่ท าหน้าที่ตรวจประเมิน โดยบุคคลดังกล่าวต้องมีต าแหน่งเป็นหัวหน้าคณะผู้ตรวจประเมิน

ความหมายของค าอ่ืนๆ ที่ใช้ในเอกสารนี้ ให้เป็นไปตามระเบียบ หลักเกณฑ ์และเงื่อนไขที่ก าหนด

4. เอกสารที่เกี่ยวข้อง 4.1 หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการตรวจประเมินแหล่งผลิต GAP พืช (RE-2) 4.2 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน เรื่อง การรับรองแหล่งผลิต GAP พืช (PM-14) 4.3 แบบค าขอใบรับรองแหล่งผลิต GAP พืช (ส าหรับรายเดียว) (F-1) 4.4 แบบค าขอใบรับรองแหล่งผลิต GAP พืช (ส าหรับกลุ่ม) (F-2) 4.5 แบบค าขอยกเลิกการรับรอง (F-6) 4.6 แผนการตรวจประเมินประจ าเดือน (F-7) 4.7 แบบบันทึกการแจ้งก าหนดการตรวจประเมิน (F-8) 4.8 แบบรายการตรวจประเมินระบบควบคุมภายในแบบกลุ่ม การรับรองแหล่งผลิต GAP’พืชและ

พืชอินทรีย์’(F-48) 4.9 แบบบันทึกการตรวจประเมินแหล่งผลิต GAP พืช (F-50) 4.10 วิธีการปฏิบัติงาน (Work Instruction) 4.11 เอกสารการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีส าหรับ GAP พืช ตามมาตรฐานกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 4.12 รายชื่อเกษตรกรที่ขอรับการตรวจประเมินจากฐานข้อมูล 4.13 เอกสารการน าส่งแบบบันทึกการตรวจประเมินแหล่งผลิตพืช 4.14 ระบบสารสนเทศ

Page 3: คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงานgap.doa.go.th/web_manual/doc/PM/PM8.pdf · 4.12 รายชื่อเกษตรกรที่ขอรับการตรวจประเมินจากฐานข้อมูล

คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงาน รหัส PM-8

หน้า 3/7 แก้ไขครั้งท่ี 2 ประกาศใช้วันท่ี 31 ม.ค. 62

การตรวจประเมินเพื่อการรับรอง แหล่งผลติ GAP พืช

5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

ผู้รับผิดชอบ ขั้นตอน

เอกสารที่เกี่ยวข้อง คณะผู้ตรวจประเมิน รับทราบแผนการตรวจประจ าเดือน

จากหัวหน้าคณะผู้ตรวจประเมิน แผนการตรวจประเมิน

ประจ าเดือน (F-7) คณะผู้ตรวจประเมิน

เตรียมการตรวจประเมินโดยศึกษาแบบค าขอ จัดท าก าหนดการตรวจประเมิน พร้อมทั้งแจ้งก าหนดการตรวจประเมินให้ผู้ขอการรับรอง

ทราบ และจัดเตรียมบันทึกที่ใช้ในการตรวจประเมิน

แบบค าขอใบรับรองแหล่งผลิต GAP พืช (ส าหรับรายเดียว) (F-1)

แบบค าขอใบรับรองแหล่งผลิต GAP พืช (ส าหรับกลุ่ม) (F-2)

ก าหนดการตรวจประเมิน (F-8) รายชื่อเกษตรกรที่ขอรับการตรวจ

ประเมินจากฐานข้อมูล แบบบันทึกการตรวจประเมิน

GAP พืช (F-50) คณะผู้ตรวจประเมิน ด าเนินการตรวจประเมินเพ่ือ

การรับรอง ในกรณีสงสัยอาจมีการสุ่มตัวอย่าง ดิน พืช น้ า รวมทั้ง

พิจารณาผลการตรวจประเมิน และบันทึกในแบบบันทึกการตรวจ

ประเมิน แหล่งผลิต GAP พืช และแจ้งให้เกษตรกรรับทราบผลการตรวจประเมินพร้อมลงชื่อในแบบ

บันทึกข้อบกพร่องฟาร์ม และบันทึกการเก็บตัวอย่างดิน น้ า และพืชส่ง

วิเคราะห์ (ถ้าม)ี

กรณีมีข้อบกพร่องให้แจ้งเกษตรกรรับทราบและให้เกษตรกรเสนอแนวทางการแก้ไข และก าหนดระยะเวลาแล้วเสร็จ พร้อมนัดหมายช่วงเวลาใน

การตรวจประเมินครั้งต่อไป

แบบบันทึกการตรวจประเมินแหล่งผลิต GAP พืช (F-50)

เอกสารการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีส าหรับพืช ตามมาตรฐานกระทรวงเกษตรและสหกรณ ์(มกษ.)

วิธีการปฏิบัติงาน (Work Instruction)

หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการตรวจประเมินแหล่งผลิต GAP พืช (RE-2)

Page 4: คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงานgap.doa.go.th/web_manual/doc/PM/PM8.pdf · 4.12 รายชื่อเกษตรกรที่ขอรับการตรวจประเมินจากฐานข้อมูล

คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงาน รหัส PM-8

หน้า 4/7 แก้ไขครั้งท่ี 2 ประกาศใช้วันท่ี 31 ม.ค. 62

การตรวจประเมินเพื่อการรับรอง แหล่งผลติ GAP พืช

5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (ต่อ)

ผู้รับผิดชอบ ขั้นตอน

เอกสารที่เกี่ยวข้อง เมื่อการตรวจประเมินครบทุกหัวข้อ

ผู้ตรวจประเมินจัดท าแบบสรุปการตรวจประเมินฟาร์ม

ในกรณีที่ไม่สามารถตรวจได้ครบ ทุกหัวข้อในการตรวจครั้งแรก

ให้ด าเนินการนัดหมายการตรวจประเมินในครั้งต่อไป

การตรวจประเมินเพ่ือการรับรอง จะด าเนินการให้เสร็จสิ้นภายใน 3 ครั้ง โดยหากไม่เป็นไปตาม

ที่ก าหนด ให้พิจารณายกเลิกค าขอและหากประสงค์จะขอรับการรับรองต่อไปให้เกษตรกรยื่นค าขอใหม่เม่ือมี

ความพร้อม

แบบค าขอยกเลิกการรับรอง (F-6)

หัวหน้าคณะผู้ตรวจประเมิน/ ผู้ทบทวนทางเทคนิค

จัดท าบันทึก และรวบรวมสรุปผลการตรวจประเมิน บันทึกข้อบกพร่อง และบันทึกการเก็บตัวอย่างดิน น้ า และพืชส่งวิเคราะห์ (ถ้าม)ี เสนอ

ผู้ทบทวนทางเทคนิค เพ่ือทวนสอบความถูกต้องเอกสารและบันทึกการตรวจประเมิน และลงชื่อในเอกสารน าส่งแบบบันทึกการตรวจประเมิน

แหล่งผลิต GAP พืช

แบบบันทึกการตรวจประเมิน แหล่งผลิต GAP พืช (F-50)

เอกสารการน าส่งแบบบันทึก การตรวจประเมินแหล่งผลิต GAP พืช

Page 5: คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงานgap.doa.go.th/web_manual/doc/PM/PM8.pdf · 4.12 รายชื่อเกษตรกรที่ขอรับการตรวจประเมินจากฐานข้อมูล

คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงาน รหัส PM-8

หน้า 5/7 แก้ไขครั้งท่ี 2 ประกาศใช้วันท่ี 31 ม.ค. 62

การตรวจประเมินเพื่อการรับรอง แหล่งผลติ GAP พืช

5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (ต่อ)

ผู้รับผิดชอบ ขั้นตอน

เอกสารที่เกี่ยวข้อง กรณีท่ีผลการทวนสอบทางเทคนิค

พบว่าต้องแก้ไขข้อมูลในสาระส าคัญของระบบการผลิตพืช ให้หัวหน้า

คณะผู้ตรวจประเมิน/ ผู้ตรวจประเมินทีร่ับผิดชอบด าเนินการแก้ไข

และแจ้งเกษตรกรรับทราบการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว

หัวหน้าคณะผู้ตรวจประเมิน/ หน่วยงานสารบรรณของหน่วยงาน

รวบรวมเอกสารการตรวจประเมินทั้งหมด ส่งให้งานสารบรรณของ

หน่วยงานเพื่อส่งต่อให้ผู้อ านวยการ สวพ. ที่รับผิดชอบ

แบบบันทึกการตรวจประเมินแหล่งผลิต GAP พืช (F-50)

เอกสารการน าส่งแบบบันทึก การตรวจประเมินแหล่งผลิต GAP พืช

ผู้อ านวยการ สวพ./ กลุ่มถ่ายทอดเทคโนโลยี

พิจารณารับเรื่อง และส่งเรื่อง ให้กลุ่มถ่ายทอดเทคโนโลยี เพ่ือ รวบรวมเรื่องเสนอ คณะกรรมการรับรอง

แบบบันทึกการตรวจประเมิน GAP พืช (F-50)

หนังสือน าส่งแบบบันทึก การตรวจประเมินแหล่งผลิต GAP พืช

กลุ่มถ่ายทอดเทคโนโลยี/คณะกรรมการรับรอง

รวบรวมและตรวจสอบความครบถ้วนและถกูต้องของข้อมูล

ทั้งหมด จากนั้นเสนอคณะกรรมการรับรอง เพ่ือพิจารณาให้การรับรอง

แบบบันทึกการตรวจประเมินแหล่งผลิต GAP พืช (F-50)

หนังสือน าส่งแบบบันทึก การตรวจประเมินแหล่งผลิต GAP พืช

คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงานเรื่อง การรับรองแหล่งผลิต GAP พืช (PM-14)

Page 6: คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงานgap.doa.go.th/web_manual/doc/PM/PM8.pdf · 4.12 รายชื่อเกษตรกรที่ขอรับการตรวจประเมินจากฐานข้อมูล

คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงาน รหัส PM-8

หน้า 6/7 แก้ไขครั้งท่ี 2 ประกาศใช้วันท่ี 31 ม.ค. 62

การตรวจประเมินเพื่อการรับรอง แหล่งผลติ GAP พืช

6. รายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6.1 คณะผู้ตรวจประเมินรับทราบแผนการตรวจประเมินประจ าเดือน (F-7) 6.2 คณะผู้ตรวจประเมินเตรียมการก่อนตรวจประเมิน โดยท าการศึกษาค าขอรายชื่อเกษตรกรที่ขอรับการ

ตรวจประเมินจากฐานข้อมูล’และการทบทวนมาตรฐานที่จะใช้ในการตรวจประเมินเพ่ือการรับรอง และจัดท าแบบบันทึกการแจ้งก าหนดการตรวจประเมิน (F-8) ให้สอดคล้องกับระยะเวลาในการตรวจประเมิน (Man-day) และครอบคลุมทุกกิจกรรมตามขอบข่ายที่ขอรับการรับรอง

6.3 คณะผู้ตรวจประเมินด าเนินการตรวจประเมินเพ่ือการรับรอง ให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์และเงื่อนไข การตรวจประเมินแหล่งผลิต GAP พืช (RE-2) และให้เป็นไปตามก าหนดการตรวจประเมินที่ได้ก าหนดไว้ ซึ่งการตรวจประเมินประกอบด้วย การสัมภาษณ์ การตรวจเอกสาร/ บันทึก การตรวจพินิจ/ การสังเกตกิจกรรม และสภาวะของพ้ืนที่ที่ตรวจ และอาจมีการสุ่มตัวอย่าง ดิน น้ า หรือพืช ในกรณีสงสัย โดยบันทึกข้อมูลการเก็บตัวอย่าง จากนั้นให้บันทึกสิ่งที่พบจากการตรวจประเมินในแบบบันทึกการตรวจประเมินแหล่งผลิต GAP พืช (F-50) เมื่อการตรวจประเมินแล้วเสร็จ คณะผู้ตรวจประเมินจะพิจารณาผลการตรวจประเมิน และแจ้งให้เกษตรกรรับทราบผลการตรวจประเมินพร้อมลงชื่อ

กรณีมีข้อบกพร่องให้แจ้งเกษตรกรรับทราบและให้เกษตรกรเสนอแนวทางการแก้ไข และก าหนดระยะเวลาแล้วเสร็จ พร้อมนัดหมายช่วงเวลาในการตรวจประเมินครั้งต่อไป (การตรวจประเมินแก้ไขข้อบกพร่องจะตรวจไม่เกิน 2 ครั้ง ในข้อก าหนดเดียวกัน ถ้าไม่ด าเนินการแก้ไข จ าเป็นต้องยกเลิกค าขอ)

กรณีที่คณะผู้ตรวจประเมิน ตรวจประเมินครบทุกหัวข้อให้ผู้ตรวจประเมินจัดท าแบบสรุปการตรวจประเมินฟาร์ม

กรณีที่ไม่สามารถตรวจได้ครบทุกหัวข้อในการตรวจครั้งแรก ให้ด าเนินการนัดหมายการตรวจประเมินในครั้งต่อไป

ทั้งนี้การตรวจประเมินเพ่ือการรับรองจะท าการตรวจประเมินแต่ละรายไม่เกิน 3 ครั้ง หากการตรวจประเมินไม่สามารถเสร็จสิ้นได้ภายใน 3 ครั้ง ให้แจ้งผลการตรวจประเมินให้ผู้ยื่นค าขอทราบ จากนั้นสรุปผลเสนอคณะกรรมการรับรอง เพ่ือยกเลิกค าขอต่อไป และหากประสงค์จะขอรับการรับรองต่อไปให้เกษตรกรยื่นค าขอใหม่เมื่อมีความพร้อม

6.4 หัวหน้าคณะผู้ตรวจประเมิน เสนอผู้ทบทวนทางเทคนิค เพ่ือทวนสอบความถูกต้องเอกสารและบันทึกการตรวจประเมิน และลงชื่อในเอกสารการน าส่งแบบบันทึกการตรวจประเมินแหล่งผลิต GAP พืช กรณีที่ผลการทวนสอบพบว่าต้องแก้ไขข้อมูลในสาระส าคัญของระบบการผลิตพืช ให้หัวหน้าคณะผู้ตรวจประเมิน/ ผู้ตรวจประเมินที่รับผิดชอบ’ด าเนินการแก้ไขและแจ้งเกษตรกรรับทราบการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว

6.5 หัวหน้าคณะผู้ตรวจประเมินรวบรวมเอกสารการตรวจประเมินทั้งหมด ส่งให้งานสารบรรณของหน่วยงาน เพ่ือจัดส่งให้ ผู้อ านวยการ สวพ.

6.6 ผู้อ านวยการ สวพ.พิจารณารับเรื่อง และส่งเรื่องให้กลุ่มถ่ายทอดเทคโนโลยี เพ่ือรวบรวมเรื่องเสนอคณะกรรมการรับรองมาตรฐานการผลิตพืช

Page 7: คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงานgap.doa.go.th/web_manual/doc/PM/PM8.pdf · 4.12 รายชื่อเกษตรกรที่ขอรับการตรวจประเมินจากฐานข้อมูล

คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงาน รหัส PM-8

หน้า 7/7 แก้ไขครั้งท่ี 2 ประกาศใช้วันท่ี 31 ม.ค. 62

การตรวจประเมินเพื่อการรับรอง แหล่งผลติ GAP พืช

6.7 กลุ่มถ่ายทอดเทคโนโลยีรวบรวมและตรวจสอบความครบถ้วนและถูกต้องของข้อมูลทั้งหมด จากนั้นเสนอคณะกรรมการรับรองมาตรฐานการผลิตพืช เพ่ือพิจารณาให้การรับรอง โดยด าเนินการตามคู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงาน เรื่อง การรับรองแหล่งผลิต GAP พืช (PM-14)

กรณีท่ีคณะกรรมการรับรองมาตรฐานการผลิตพืช พบว่าข้อมูลไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้องให้กลุ่มถ่ายทอดเทคโนโลยีจัดส่งเรื่องคืนให้คณะผู้ตรวจประเมินด าเนินการแก้ไข

หมายเหตุ : ผู้ที่ท าหน้าที่ลบข้อมูลค าขอที่ถูกยกเลิกออกจากฐานข้อมูล คือ เจ้าหน้าที ่สวพ. ที่ได้รับมอบหมาย